โครงการวิจัย
1.การศึกษาผลของถ่านชีวภาพต่อการเติบโต การสะสมโซเดียมไอออน และผลผลิตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในสภาวะดินเค็ม (หัวหน้าโครงการ) ทุนพัฒนาอาจารย์ใหม่/นักวิจัยใหม่ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2.การศึกษาผลของถ่านชีวภาพต่อคุณลักษณะของดิน ความสามารถในการทนเค็มและผลผลิตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในดินเค็ม (หัวหน้าโครงการ) กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ยุทธการไม้ไผ่รักษ์โลก: วัสดุท้องถิ่นทดแทนพลาสติก (หัวหน้าโครงการย่อย) ภายใต้โครงการเที่ยวกรีน กินคลีน เสพศิลป์เมืองน่าน การสรรสร้างเมืองน่านเพื่อยกระดับสู่การท่องเที่ยวสีเขียวอย่างยั่งยืน ทุนวิจัยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
4. การขยายพันธุ์และการเก็บรักษาพันธุ์กล้วยไม้เสี่ยงสูญพันธุ์บางชนิดในสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้า พิษณุโลก ในพระราชดำริ (ผู้ร่วมวิจัย) ทุนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
5. โครงการวิจัยการบูรณาการการบริหารจัดการน้ำในภาวะภัยแล้งเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย “กิจกรรมที่ 6 การจัดการองค์ความรู้นวัตกรรมสู้ภัยแล้งของชุมชน” (หัวหน้ากิจกรรมย่อย) ทุน กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ส่งเสริม ววน.)
6. การศึกษาผลของถ่านชีวภาพร่วมกับน้ำหรือธาตุอาหารพืชจากระบบรีไซเคิลน้ำเสียต่อผลผลิตของพืชเศรษฐกิจ (หัวหน้ากิจกรรมย่อย) ภายใต้แพลตฟอร์มวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างผลกระทบ (Impactful Research & Innovation) : ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Sustainable Environment) สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7. การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้น้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรมกระดาษและบรรจุภัณฑ์เพื่อการเกษตรกรรม ทุนวิจัย บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จำกัด
8. กิจกรรมที่ 2 ล่องน่าน เที่ยวกาด (ข่วงเมือง) วิถีใหม่ แบบไร้คาร์บอน (Nan Low Carbon Walking Street) (ผู้ร่วมโครงการ) ภายใต้โครงการวิจัย เที่ยวน่าน ใส่ใจ ไร้คาร์บอน: การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำสำหรับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดน่าน เพื่อนำไปสู่แหล่งท่องเที่ยวการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ทุนวิจัยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
9. แพลตฟอร์มความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ReA-2 การจัดการทรัพยากรน้ำและดินเพื่อการเกษตรอย่างยั่งยืนและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (หัวหน้ากิจกรรมย่อย) กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10. โครงการวิจัยเรื่อง โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ถ่านชีวภาพต้นแบบเพื่อเป็นวัสดุปรับปรุงคุณภาพดินเค็ม (หัวหน้าโครงการ) ทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการสนับสนุนการพัฒนารูปแบบธุรกิจของต้นแบบนวัตกรรมทางสังคม กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11. โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลของถ่านชีวภาพต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการนำโซเดียมและแร่ธาตุเข้าสู่รากข้าวที่ปลูกในสภาวะดินเค็ม แหล่งทุนงานวิจัยพื้นฐาน (Fundamental Fund: FF) ภายใต้แผนปฏิบัติการและแผนงานของหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (ววน.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
1. Bualuang Faiyue, Thanchanok Kraipitukkul, Doungsuree Saetae and Poonyaporn Apithanawit. (2019). Ammonium nitrate pretreatment increased salt tolerance of Thai jasmine rice. 8th World Climate Congress. May 10-11, 2019, Bangkok, Thailand.
2. บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ กนกพร คุ้มภัย ไตรภพ โคตรวงษาและรุ่งโรจน์ ฝ้ายเยื่อ. (2565). การจัดการองค์ความรู้นวัตกรรมสู้ภัยแล้งในสวนเกษตรผสมผสาน. บทความฉบับเต็ม. การประชุมวิชาการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 21 วันที่ 12-13 พฤษภาคม 2565.
3. นภัสวรรณ สุดรัตน์ โสภิดา ศุภเกียรติกุล กนกพร คุ้มภัย และ บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ. (2565). การคัดเลือกพันธุ์ข้าวทนเค็มเพื่อรับมือสถานการณ์การรุกล้ำของน้ำทะเล. บทความฉบับเต็ม. การประชุมวิชาการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 21 วันที่ 12-13 พฤษภาคม 2565.
4. โสภิดา ศุภเกียรติกุล, กนกพร คุ้มภัย, วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์, รัตนาพร จิตตรง และ บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ. (2566). การศึกษาสมบัติเชิงกายภาพของกาบไผ่และความสามารถในการขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร. บทความฉบับเต็ม. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 4 วันที่ 27 มีนาคม 2566. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่.
บทความวิชาการภาษาไทย
1. ณัฐวรา กิจธรรมรัตน์, ภัทรพร เอี่ยมศิริกิจ, ศศธร ศิริกุลสถิตย์, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ และภัทรญา กลิ่นทอง. (2562) การพัฒนาวัสดุเพาะเห็ดนางรมทองจากกระดาษลังและเปลือกผลไม้เพื่อเพิ่มฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ. วารสารสิ่งแวดล้อม, ปีที่ 23 (ฉบับที่ 2) เมษายน-มิถุนายน.
2. บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ และเสาวนีย์ วิจิตรโกสุม. (2563). ถ่านชีวภาพ (biochar) วัสดุปรับปรุงดินเพื่อส่งเสริมการปลูกข้าวในพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารสิ่งแวดล้อม, ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) เมษายน-มิถุนายน.
3. จิราภรณ์ นิคมทัศน์, ศิริวรรณ โพธิ์แก้ว, สิริวิมล กลิ่นหนู, รณิดา รักธรรม และ บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ (2563) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกุหลาบหนูโดยอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์, ฉบับที่ 1, มกราคม-มิถุนายน, หน้า 29-39.
4. วราวุฒิ มณีสุวรรณ, วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์, ภัทรสุดา จบแล้ว, อุไรวรรณ ถือพัฒน์, ธนัชพร หิรัญกุล และ บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ. (2564). “ไผ่” ทางเลือกสำหรับทดแทนพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง. วารสารสิ่งแวดล้อม, ปีที่ 25 (ฉบับที่ 1).
5. บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, รุ่งโรจน์ ฝ้ายเยื่อ, กนกพร คุ้มภัย และ พงศ์ไพบูลย์ ตุลารักษ์. (2564). นวัตกรรมสู้ภัยแล้ง - ตัวอย่างทางเลือกและทางรอดสำหรับเกษตรกรไทย. วารสารสิ่งแวดล้อม, ปีที่ 25 (ฉบับที่ 2).
6. รุ่งโรจน์ ฝ้ายเยื่อ, ไตรภพ โคตรวงษา, กนกพร คุ้มภัย และ บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ. (2565). นวัตกรรมทางสังคมกับการบริหารจัดการน้ำเพื่อรับมือภัยแล้ง – กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกไผ่ อำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารสิ่งแวดล้อม, ปีที่ 26 (ฉบับที่ 4).
7. พรพิมล สุราช, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, กฤษณี สุวรรณพาหุ และ วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์. (2565). เที่ยวถนนคนเดิน (กาดข่วงเมืองน่าน) อย่างไรให้คาร์บอนต่ำ. วารสารสิ่งแวดล้อม, ปีที่ 26 (ฉบับที่ 4).
8. ศิวรี อรัญนารถ, พัดชา อุทิศวรรณกุล และ บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ. (2565). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน กรณีศึกษาการสร้างสรรค์สินค้าแฟชั่นไลฟ์สไตล์จากนวัตกรรมสิ่งทอใยไผ่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 หน้า 1-22.
การฝึกอบรม/สัมมนา/ฟังบรรยายพิเศษ
1. การพัฒนาศักยภาพ Intrapreneur สำหรับผู้บริหารสายวิชาการในมหาวิทยาลัย U-INTRA: University Intrapreneurship Development Program (ปลุกพลัง Intrapreneur แก่ผู้บริหารสายวิชาการในมหาวิทยาลัย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. หลักสูตร ผู้ตรวจประเมินธุรกิจที่รับผิดชอบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ (Basic) จัดโดย สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
3. Carbon Footprint of Product in Chemical Industry จัดโดย หลักสูตรสหสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย