ผลผลิตเผยแพร่จากโครงการวิจัย
FLY Bangkok Summer Camp 2024
ดาวน์โหลดรายงานดร. สุจิตรา วาสนาดำรงดี, ดร. นันทมล ลิมป์พิทักษ์พงศ์
A Study on the Role of Extended Producer Responsibility for Plastics Circularity in Thailand
ดาวน์โหลดรายงานรายงานผลการศึกษานี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผ่าน แผนงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
เล่มที่ 1 การศึกษาและจัดทำร่างกฎหมายส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน เล่มที่ 2 การประเมินการบริหารการจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เล่มที่ 3 การศึกษาและจัดทำร่างกฎหมายการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์อย่างยั่งยืนอิชฌิกา ศิวายพราหมณ์, พิชชา กันต์ธนะเดชา, วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์, ชาลิดา อ่อนไสว
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย: เพื่อรวบรวมและศึกษาสถานภาพและความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงก์ตอนสัตว์ ในระบบนิเวศแหล่งน้ำ ลุ่มแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา แม่น้ำประแสร์ แม่น้ำระยอง จังหวัดระยอง
โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดย กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ส่งเสริม ววน.) ภายใต้โครงการ “การบูรณาการการบริหารจัดการน้ำในภาวะภัยแล้งเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย”
Download ZIPรศ.ดร.พันธวัศ สัมพันธ์พานิช, ผศ.ดร.พรรณวดี สุวัฒิกะ, ผศ.ดร.สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ, ดร.สุทธิชาน์ นิลฤทธิ์, ดร.วัชราภรณ์ สุนสิน, ผศ.ดร.ณัฏฐา ฐานีพานิชสกุล, ดร.รัชชานนท์ เปี่ยมใจสว่าง, นายคธาวุฒิ ไวยสุศรี
สื่อวีดีทัศน์การลดความเสี่ยงจากฝุ่นละอองสำหรับภาคประชาชน
สื่อวีดีทัศน์การลดความเสี่ยงจากฝุ่นละอองสำหรับภาคผู้ประกอบการ
ดร.ภุมรินทร์ คำเดชศักดิ์, ดร.มงคลชัย อัศวดิษฐเลิศ, ผศ.ดร.สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ, อ.ดร.ดนัย ทิพย์มณี
แนวทางปฏิบัติที่ดีด้านการจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในกิจการผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลขนาดเล็กชนิด PE และ PP
การลดลงของทรัพยากรธรรมชาติและปริมาณขยะพลาสติกที่เพิ่มขึ้น เป็นปัญหาที่มนุษย์กำลังเผชิญ การแก้ไขปัญหาเหล่านี้ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นวาระของโลก และต่างก็มีความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาผ่านการดำเนินงานเชิงนโยบายที่หลากหลายรูปแบบในแต่ละประเทศในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ กระทรวง องค์กร สมาคม กลุ่ม บริษัท ห้างร้าน และระดับอื่น ๆ หนึ่งในกลไกการแก้ปัญหาคือการนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) มาปรับใช้ ซึ่งมีเป้าหมายหลัก คือ การสนับสนุนให้ใช้ของเสียมาเป็นวัตถุดิบรองหรือวัตถุดิบมือสอง (Secondary raw materials) กลับเข้าไปสู่ระบบการผลิตอีกครั้ง
อุตสาหกรรมรีไซเคิลพลาสติกของไทยทั้งระบบ มีบทบาทที่สำคัญเป็นอย่างมากต่อการขับเคลื่อนนโยบายการนำพลาสติกที่ใช้งานแล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยเฉพาะกระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลชนิด PE และ PP ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำที่จะนำวัตถุดิบพลาสติกกลับเข้ากระบวนการเพื่อฉีดหรือขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่รองรับการการอุปโภคในรูปแบบต่าง ๆ ต่อไป อีกทั้ง อุตสาหกรรมนี้ยังมีโรงงาน/กิจการตั้งอยู่เป็นจำนวนมากในประเทศ อย่างไรก็ตาม การสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลให้มีความพร้อม และได้รับการสนับสนุนเพื่อให้อุตสาหกรรมดังกล่าวมีการพัฒนาในทุกแง่มุมที่เป็นไปได้ ยังได้รับความสนใจและการดูแลค่อนข้างน้อย
ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการจัดทำแนวทางปฏิบัติที่ดีฯ เล่มนี้ คือ การเผยแพร่ข้อมูลแก่ผู้ประกอบกิจการให้สามารถเตรียมความพร้อมด้วยตัวเองในเบื้องต้นตามบริบทของแต่ละโรงงาน/สถานประกอบการ ในการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลชนิด PE และ PP และนำไปสู่การป้องกันเพื่อลดอุบัติภัยของพนักงาน ลดปัญหาด้านสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน ลดการสูญเสียทรัพย์สินของผู้ประกอบกิจการ และมีการเติบโตของธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
คณะนักวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จึงได้พัฒนาคู่มือฉบับนี้ขึ้น โดยหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมดังกล่าว โดยเฉพาะกิจการขนาดเล็ก ที่มีอยู่เป็นจำนวนมากและเป็นส่วนหนึ่งในกำลังการผลิตที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมนี้โดยภาพรวมในทุกมิติ
Download PDFเส้นทางสีเขียว ชวนเที่ยวน่าน สไตล์เที่ยวกรีน กินคลีน เสพศิลป์เมืองน่าน
จังหวัดน่านเป็นเมืองที่งดงามด้วยศิลปวัฒนธรรม มีธรรมชาติที่สวยงาม และอาหารท้องถิ่นที่ปลอดภัย ใครที่กำลังมองหาสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดน่าน วันนี้เราได้ร้อยเรียงเส้นทางกิจกรรมเที่ยวกรีน กินคลีน และเสพงานศิลปะของจังหวัดน่าน ไว้ในแผนที่ “เที่ยวกรีน กินคลีน เสพศิลป์เมืองน่าน” (Green Travel, Healthy Food, Nan Art Appreciation Map)
แผนที่นี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “เที่ยวกรีน กินคลีน เสพศิลป์เมืองน่าน” การสรรสร้างเมืองน่านเพื่อยกระดับสู่ การท่องเที่ยวสีเขียวอย่างยั่งยืน โดย สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก หน่วยบริหาร และจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) สามารถดาวน์โหลดแผนที่ ได้ที่
View in Google DriveThe Project of “Creating Nan City toward Sustainable Green Tourism” by Environmental Research Institute, Chulalongkorn University; funded by Office of National Higher Education Science Research and Innovation Policy Council through PMUC – BCG in Action, 2020.
This research put BCG Economy concept (Bio, Circular and Green Economy) into actions by collaborating with Nan province local entrepreneurs, communities, farmers, local organizations, enterprises etc.
The Map of “Green Travel, Healthy Food and Nan Art Appreciation represent these empirical outcomes.
Downloadเที่ยวกรีน กินคลีน เสพศิลป์เมืองน่าน
ขยะไม่แขยง สามารถแปลงร่างได้นะ
รายงานผลการศึกษานี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผ่าน แผนงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร รายงานฉบับสมบูรณ์ผลงานนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการ CU Community Engagement ปี 2562 โดยสำนักบริหารยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Download E-Book Download Leafletผลงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการยุทธศาสตร์การวิจัยเชิงลึก ประจำปีงบประมาณ 2557 กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านจากคลัสเตอร์วิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการจัดการภัยพิบัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Download E-Book (ภาษาไทย) Download E-Book (English)ผลงานวิจัยฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจาก สำนักบริหารยุทธศาสตร์และการงบประมาณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโครงการ OFOC (One Functional-unit One Community) ปีงบประมาณ 2558-2559
บ้านท่าช้าง บ้านพญาภูผลงานวิจัยฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจาก ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2558 โครงการวิจัยประยุกต์ ประเภทผลผลิตเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
Downloadดร.ปัณฑิตา ตันวัฒนะ และ ดร.ธัญศิภรณ์ จันทร์หอม
Research project entitle “Haze Free Thailand: Land Use and Agricultural Supply-Chain Redesign Program to Reduce Haze” This research has been supported by the project of “Thailand Grand Challenge” of National Research Council of Thailand through Thailand Research University Network (RUN)
แผนที่แปลงเกษตรที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดิน แผนที่การปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรแบบไรหมอกควัน แผนที่เที่ยวเมืองน่านทานผักอินทรีย์ทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการ CU Community Engagement โดยสำนักบริหารยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย The Project of Scale up of Community Based Disaster Risk Management (CBDRM) Process for Disaster Resilient City: Case Study of Disaster Risk Communities in Nan Province, Thailand (2018)
แผนที่พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยและความเปราะบางต่อภัยพิบัติTel:
+66 2218 8117Lab Service
+66 2218 8211Fax:
+66 2218 8124E-mail:
eric@chula.ac.thElectronic Document System (Saraban):
saraban_eric@chula.ac.th