Dr. Nattapong Tuntiwiwattanapun

ดร. ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์

Researcher, Professional Level

Professional Expertise/Research Interests:

Green Extraction and Biomass Pretreatment
  1. 1. Subcritical Water Extraction / Hydrothermal Carbonization
  2. 2. Surfactant and Enzyme-assisted Extraction

Circular Economy and Life Cycle Assessment
  1. 1. Used Cooking Oil and Trapped Grease Management
  2. 2. Waste to Agriculatural Application

Site Remediation
  1. 1. Petroleum Oil Spill
  2. 2. Soil Infertility

Educations:

2559 วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)
2556 Master of Science, North Dakota State University (United State of America)
2555 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)
2550 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีทางอาหาร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)

Experiences:

เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)

  1. 1. นักวิจัยในโครงการ: งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายด้านการประสาน ติดตาม การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สนับสนุนโดย สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  1. 2. นักวิจัยในโครงการ: โครงการพัฒนาและยกระดับสถานประกอบการอุตสาหกรรมให้มีการประยุกต์ใช้หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนในองค์กรปีที่ 3 โดย สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (MASCI) สนับสนุนโดย กพร. กระทรวงอุตสาหกรรม


อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล (Sugarcane and Sugar Industry)

  1. 1. ปรึกษาร่วม: การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรชีวมวลจากอ้อยดำ: ศักยภาพของการผลิตส่วนผสมฟังก์ชัน และการประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม โครงการวิทยานิพนธ์ระดับ วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)


อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (Tourism Industry)

  1. 1. นักวิจัยในโครงการ: การปรับตัวสู่สังคมคาร์บอนต่ำด้วยการพัฒนานวัตกรรมของเหลือทิ้งชุมชนที่ยั่งยืน ภายใต้ แพลตฟอร์มความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สนับสนุนโดย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  1. 2. นักวิจัยในโครงการ: เที่ยวน่าน ใส่ใจ ไร้คาร์บอน: การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำสำหรับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดน่าน เพื่อนำไปสู่แหล่งท่องเที่ยวการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)

  1. 3. หัวหน้าโครงการวิจัย: นวัตกรรมการแปรรูปขยะอินทรีย์จากกิจกรรมการท่องเที่ยว เพื่อใช้ในชุมชนเมืองน่าน ภายใต้แผนงานวิจัย เที่ยวกรีน กินคลีน เสพศิลป์เมืองน่าน: การสรรสร้างเมืองน่านเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวสีเขียวอย่างยั่งยืน สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)


อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและน้ำมันพืช (Palm Oil and Vegetable Oil Industry)

  1. 1. หัวหน้าโครงการวิจัย: “การปรับปรุงคุณสมบัติของสารลดแรงตึงผิวที่ผลิตจากน้ำมันพืชใช้แล้วในการเป็นสารควบคุมโรคพืชและแมลงรบกวนในการทำเกษตรอินทรีย์” สนับสนุนโดย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  1. 2. หัวหน้าโครงการวิจัย: เม็ดฟู่สลายคราบไขมัน เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตไบโอแก๊ซ จากน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม ภายใต้โครงการวิจัยปั้นดาว สนับสนุนโดย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อววน.) ภายใต้ความร่วมมือกับ บริษัท ทักษิณปาล์ม (2521) จำกัด

  1. 3. นักวิจัยในโครงการ: การประเมินผลกระทบโครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนของ สวก. เพื่อนำไปสู่การสร้างยุทธศาสตร์การวิจัยปาล์มน้ำมันและน้ำามันปาล์มตลอดห่วงโซ่อุปทานในอนาคต สนับสนุนโดย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)

  1. 4. ผู้ช่วยวิจัยในโครงการ: “การพัฒนากระบวนการสกัดน้ำมันคาโนล่าด้วยสารลดแรงตึงผิว และการแปรรูปเป็นน้ำมันไบโอดีเซล” ภายใต้การดูแลของ รศ.ดร.จันทรา ทองคำเภา และศาสตราจารย์ ดร.เดนนิส ไวส์เซนบอนด์

  1. 5. ผู้ช่วยวิจัยในโครงการ: “การพัฒนากระบวนการสกัดน้ำมันสบู่ดำด้วยสารลดแรงตึงผิว” ภายใต้การดูแลของ รศ.ดร.จันทรา ทองคำเภา และศาสตราจารย์ ดร.เดนนิส ไวส์เซนบอนด์


อุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียนและพลังงานทางเลือก (Renewable Energy and Alternative Energy Industry)

  1. 1. ที่ปรึกษา: การพัฒนาแผนการจัดการแผงพลังงานแสงอาทิตย์ที่เสื่อมสภาพในเชิงสิ่งแวดล้อม, พลังงาน และเศรษฐศาสตร์: การศึกษารายกรณีของโซลาห์ฟาร์มในประเทศไทย โครงการวิทยานิพนธ์ระดับ วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)

  1. 2. ที่ปรึกษา: การผลิตเชื้อเพลิงเหลวจากถุงพลาสติกใส่อาหารที่ปนเปื้อนน้ำมันปาล์มด้วยกระบวนการไพโรไลซิส: การปรับสภาวะที่เหมาะสมในการกระบวนการ และการปรับปรุงคุณสมบัติของเชื้อเพลิงเหลวโครงการวิทยานิพนธ์ระดับ วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)

  1. 3. ที่ปรึกษา: การพัฒนากระบวนการแปรรูปชีวมวลสำหรับเศษเนื้อผลกาแฟด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอนไนเซชันและกระบวนการไพโรไลซิสแบบช้า โครงการวิทยานิพนธ์ระดับ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)

  1. 4. ที่ปรึกษา: การกําจัดคลอรีนของพีวีซีพลาสติกด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชันร่วมกับกากกาแฟและคุณลักษณะด้านพลังงานของผลิตภัณฑ์ไฮโดรชาร์ โครงการวิทยานิพนธ์ระดับ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)


อุตสาหกรรมกาแฟ (Coffee Industry)

  1. 1. ที่ปรึกษา: การปรับสภาพด้วยกระบนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชั่นก่อนการไพโรซิแบบช้าเพื่อเพิ่มสมบัติทางพื้นผิวของผลิตภัณฑ์ไบโอชาร์จากกากกาแฟ โครงการวิทยานิพนธ์ระดับ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ประเทศไทย)

  2. 2. นักวิจัยในโครงการ: การใช้ประโยชน์จากกากกาแฟเพื่อผลิตสารต้านอนุมูลอิสระและวัสดุคอมโพสิตสีเขียว ภายใต้ชุดโครงการ “การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม” สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภายใต้ความร่วมมือกับ บริษัท Jacobs Dowe Egberts TH.Ltd.

  1. 3. นักวิจัยในโครงการ: การผลิตพลังงานชีวภาพและวัสดุคอมโพสิตชีวภาพจากกากกาแฟ ภายใต้ชุดโครงการ “การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม” สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภายใต้ความร่วมมือกับ บริษัท Jacobs Dowe Egberts TH.Ltd.

  1. 4. ผู้ช่วยวิจัยในโครงการ: “การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการ อินซิตู ทรานส์เอสเตอร์ริฟิเคชั่น สำหรับผลิตไบโอดีเซลจากถั่วเหลืองและกากกาแฟ” ภายใต้การดูแลของ รศ.ดร.จันทรา ทองคำเภา และศาสตราจารย์ ดร.เดนนิส ไวส์เซนบอนด์

Professional Activities:

Business Unit: REPIDS
สารควบคมุแมลงและเชื้อรารองรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
https://www.facebook.com/REPIDS.ERIC.CU 

International Postgraduate Program in Hazardous Substance and Environmental Management (IP-HSM)
รองผู้อำนวยการหลักสูตร IP-HSM

Academic Lectures:

Pollution Prevention Control (P2 Control)
  1. 1. Introduction of Life Cycle Assessment

Research Methodology
  1. 1. Design Thinking
  2. 2. Presentation Canvas
  3. 3. Essential of Excel for Research
  4. 4. Design of Experiment

Publication:

Article Name Year
Mekwichai P., Chutivisut P., Tuntiwiwattanapun N., Enhancing biogas production from palm oil mill effluent through the synergistic application of surfactants and iron supplements (2024), Heliyon, 10 , 2024
Usapein P., Tuntiwiwattanapun N., Polburee P., Veerakul P., Seekao C., Chavalparit O., Transition Pathway Palm Oil Research Framework Toward a Bio-Circular-Green Economy Model Using SWOT Analysis: A Case Study of Thailand (2022), Frontiers in Environmental Science, 10 , 2022
Phan K.A., Phihusut D., Tuntiwiwattanapun N., Preparation of rice husk hydrochar as an atrazine adsorbent: Optimization, characterization, and adsorption mechanisms (2022), Journal of Environmental Chemical Engineering, 10 , 2022
Tongcumpou C., Tuntiwiwattanapun N., Developing a cloud point extraction process for lipopeptide recovery from cell-free broth of Bacillus sp. GY19 (2022), Separation Science and Technology (Philadelphia), 57 , 2763-2771 2022
Jantanaprasartporn A., Tongcumpou C., Tuntiwiwattanapun N., Influence of Quartz, Kaolin, and Organic Matter on the Critical Micelle Concentration of Tween Surfactants and their Application in Diesel-Contaminated Soil Washing (2021), Journal of Surfactants and Detergents, 24 , 75-83 2021
Phan K.A., Phihusut D., Tuntiwiwattanapun N., Optimization of Microwave Hydrothermal Carbonization Conditions of Hydrochar for Ammonium Adsorption (2020), Proceedings of the 2020 International Conference and Utility Exhibition on Energy, Environment and Climate Change, ICUE 2020, , 2020
Mekwichai P., Tongcumpou C., Kittipongvises S., Tuntiwiwattanapun N., Simultaneous biosurfactant-assisted remediation and corn cultivation on cadmium-contaminated soil (2020), Ecotoxicology and Environmental Safety, 192 , 2020
Tongcumpou C., Usapein P., Tuntiwiwattanapun N., Complete utilization of wet spent coffee grounds waste as a novel feedstock for antioxidant, biodiesel, and bio-char production (2019), Industrial Crops and Products, 138 , 2019
Tuntiwiwattanapun N., Tongcumpou C., Sequential extraction and reactive extraction processing of spent coffee grounds: An alternative approach for pretreatment of biodiesel feedstocks and biodiesel production (2018), Industrial Crops and Products, 117 , 359-365 2018
Tuntiwiwattanapun N., Usapein P., Tongcumpou C., The energy usage and environmental impact assessment of spent coffee grounds biodiesel production by an in-situ transesterification process (2017), Energy for Sustainable Development, 40 , 50-58 2017
Tuntiwiwattanapun N., Monono E., Wiesenborn D., Tongcumpou C., In-situ transesterification process for biodiesel production using spent coffee grounds from the instant coffee industry (2017), Industrial Crops and Products, 102 , 23-31 2017
Tuntiwiwattanapun N., Tongcumpou C., Wiesenborn D., Optimization of alcoholic soybean oil extraction as a step towards developing in-situ transesterification for fatty acid isopropyl esters (2016), Industrial Crops and Products, 94 , 189-196 2016
Tuntiwiwattanapun N., Tongcumpou C., Haagenson D., Wiesenborn D., Development and scale-up of aqueous surfactant-assisted extraction of canola oil for use as biodiesel feedstock (2013), JAOCS, Journal of the American Oil Chemists' Society, 90 , 1089-1099 2013

[SERI]3

Sustainable Environment Research Institute, Chulalongkorn University

15th Fl. Sabbasastravicaya Building, Phayathai Rd. Wangmai, Pathumwan, Bangkok, 10330, Thailand.

Tel:

+66 2218 8117

Lab Service

+66 2218 8211

Fax:

+66 2218 8124

E-mail:

eric@chula.ac.th

Electronic Document System (Saraban):

saraban_eric@chula.ac.th